external-popup-close

คุณกำลังออกจากเว็บไซต์ ทีทีบี
เพื่อเข้าสู่

https://www.ttbbank.com/

ตกลง

ธนาคารทหารไทยธนชาตประกาศความมุ่งมั่นในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net-zero Commitment)

ธนาคารทหารไทยธนชาตประกาศพันธกิจสำคัญมุ่งสู่การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในการดำเนินกิจกรรมของธนาคาร รวมไปถึงการให้สินเชื่อในการเปลี่ยนผ่านไปสู่การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ให้ที่สอดคล้องกับเป้าหมายของประเทศไทย ธนาคารพัฒนาแนวทางและการดำเนินงานด้านสภาพภูมิอากาศโดยตั้งอยู่บนพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นไปได้ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดผลลัพธ์จริงที่จับต้องได้ ด้วยความมุ่งมั่นนี้ ธนาคารจึงนำมาตรฐานการบัญชีและรายงานก๊าซเรือนกระจกระดับโลก Greenhouse Gas Protocol และ the Partnership for Carbon Accounting Financials (PCAF) มาใช้ในประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของธนาคารเพื่อให้เป้าหมายของธนาคารสอดคล้องกับข้อตกลงปารีส ควบคุมการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกไม่ให้เกิน 1.5 องศาเซลเซียส อีกทั้งปฏิบัติตามมาตรฐาน Science Based Targets Initiative (SBTi) ด้วยการดำเนินการนี้ ธนาคารมีส่วนร่วมในการผลักดันการเปลี่ยนผ่านการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ภายในปี 2050 ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายของข้อตกลงปารีส

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นหนึ่งในความท้าทายที่เร่งด่วนที่สุดในปัจจุบัน ธนาคารตะหนักถึงบทบาทสำคัญ ความรับผิดชอบและความสามารถในการสร้างโซลูชั่นทางการเงินที่จะช่วยเร่งให้เกิดการเปลี่ยนผ่าน เพราะบทบาทของธนาคารไม่ใช่การนำพาธนาคารไปสู่การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ หากแต่เป็นการเสริมสร้างศักยภาพของธุรกิจต่างๆ ในการเปลี่ยนผ่านไปสู่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ ธนาคารจึงมุ่งมั่นที่จะเป็นผู้ขับเคลื่อนในการดำเนินงานเพื่อเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบบเศรษฐกิจที่มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (net-zero economy) ผ่านการให้สินเชื่อ ให้คำปรึกษาลูกค้า และสนับสนุนลูกค้าบนเส้นทางการเปลี่ยนผ่านนี้ โดยความมุ่งมั่นของธนาคารยังได้ขยายไปมากกว่าการดำเนินการตามกฎหมาย ด้วยเป็นส่วนสำคัญของอัตลักษณ์องค์กรและเป็นความรับผิดชอบของธนาคารในการเข้าไปมีบทบาทสำคัญเพื่อร่วมเสริมสร้างอนาคตที่ยั่งยืน

ธนาคารมีกลยุทธ์ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแบ่งเป็น 3 เสาหลัก ในการดำเนินงานตามความมุ่งมั่นในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ ดังนี้

  1. 1. การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในการดำเนินกิจกรรมของธนาคาร
    ธนาคารบริหารจัดการและลดการใช้ไฟฟ้าอย่างรับผิดชอบ โดยปรับปรุงกระบวนการการดำเนินงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้พลังงานอย่างต่อเนื่อง และพร้อมลงทุนในพลังงานหมุนเวียนและพลังานสะอาดเมื่อมีความเป็นไปได้ เช่น การเปลี่ยนเปลี่ยนยานพาหนะที่สำนักงานใหญ่เป็นยานยนต์ไฟฟ้าทดแทน มีการศึกษาดูความเป็นไปได้ในการเปลี่ยนยานพาหนะทั้งหมดของธนาคารทั่วประเทศเป็นยานยนต์ไฟฟ้าทดแทน รวมไปถึงการลงทุนการติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์ที่สำนักงานใหญ่และสำนักงานเขตเพื่อเปลี่ยนมาใช้พลังงานสะอาด
  2. 2. การบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
    ธนาคารพัฒนากรอบการบริหารจัดการความเสี่ยง นโยบาย และกระบวนการ โดยมีเป้าหมายในการระบุ ประเมิน และลดผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทั้งภายในองค์กรและในพอร์ตของธนาคาร ลดการข้องเกี่ยวกับธุรกิจที่มีความเสี่ยงสูงและลดผลกระทบทางการเงินของธุรกิจดังกล่าวให้เหลือน้อยที่สุด ธนาคารมีแผนการยอดระดับการบริหารจัดการความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยจัดทำ Climate Stress Test เพื่อพัฒนากระบวนการบริหารความเสี่ยงให้ครอบคลุมผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ธนาคารตระหนักและเข้าใจถึงผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อพอร์ตและผลการดำเนินงานของธนาคาร รวมถึงเพื่อให้มีการเตรียมความพร้อมในการพัฒนาทั้งด้านข้อมูล ด้านแบบจำลอง และด้านบุคลากร
  3. 3. การให้สินเชื่อและการให้คำปรึกษาลูกค้าในการเปลี่ยนผ่านไปสู่การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์
    ธนาคารมุ่งมั่นที่จะเป็นผู้ขับเคลื่อนในการดำเนินงานเพื่อเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบบเศรษฐกิจที่มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (net-zero economy) ผ่านการให้สินเชื่อ ให้คำปรึกษา และให้การสนับสนุนลูกค้าในการเปลี่ยนผ่านไปสู่ความยั่งยืน ผ่านโซลูชั่นทางการเงินที่ยั่งยืน อีกทั้งยังมุ่งเน้นพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการที่ตรงความต้องการและเพียงพอสำหรับกลุ่มธุรกิจที่ต้องการปรับตัว (transition finance product) และธนาคารยังคงสานต่อโครงการเสริมสร้างความรู้ความสามารถให้กับลูกค้าธุรกิจ ผ่านการจัดสัมมนาที่มุ่งเน้นเกี่ยวกับความท้าทายของภาคธุรกิจที่มีความเสี่ยงสูงในการเผชิญหน้ากับกฎระเบียบใหม่ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พร้อมช่วยให้คำปรึกษาและวางแผนให้กับธุรกิจที่มีความประสงค์ที่จะมุ่งสู่ Net Zero

สินเชื่อสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ธนาคารตระหนักถึงความเสี่ยงและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และเชื่อว่าการเปลี่ยนแปลงสังคมสู่เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง ในฐานะองค์กรการเงิน ธนาคารมีอิทธิพลในการช่วยปรับเปลี่ยนธุรกิจให้มีความยั่งยืนมากยิ่งขึ้น โดยธนาคารต้องการให้ธุรกิจสินเชื่อช่วยขับเคลื่อนสังคมไปสู่การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและการพัฒนาการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (climate-resilient development)

ธนาคารดำเนินงานอย่างใกล้ชิดกับธนาคารแห่งประเทศไทยและสมาคมธนาคารไทยเพื่อยกระดับมาตรฐานการให้สินเชื่ออย่างยังยืน ซึ่งรวมถึงแนวคิดริเริ่มต่างๆ เช่น แผนงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสำหรับธนาคารในประเทศไทย และ Taxonomy เป็นต้น ยิ่งไปกว่าการเป็นผู้สนับสนุนและผู้ให้บริการทางการเงิน ธนาคารยังมีบทบาทเชิงรุกสำคัญเชิงรุกในการสนับสนุนลูกค้าที่ต้องการพัฒนาโมเดลธุรกิจที่ยั่งยืน ซึ่งโมเดลธุรกิจเหล่านี้ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อทั้งลูกค้าและสังคมโดยไม่กระทบต่อผลกำไรของธนาคาร โดยธนาคารได้เสนอสินเชื่อ ESG ให้กับลูกค้าในรูปแบบของหุ้นกู้สีเขียวเพื่อสนับสนุนโครงการพลังงานแสงอาทิตย์ โครงการพลังงานชีวภาพ และโครงการการจัดการของเสีย อีกทั้งยังให้สินเชื่อที่ส่งเสริมความยั่งยืนโดยคิดอัตราดอกเบี้ยตามผลการดำเนินงานด้านความยั่งยืนของลูกค้าซึ่งประเมินจากเกณฑ์ด้านสังคมหรือสิ่งแวดล้อม โดยจะมีการตั้งเป้าหมายด้านความยั่งยืนล่วงหน้า ทั้งนี้ บริษัทที่บรรลุเป้าหมายจะได้รับผลตอบแทน เช่น การลดอัตราดอกเบี้ย

ในฐานะสถาบันการเงินภาคเอกชนของไทย ทีทีบี เป็นธนาคารพาณิชย์แห่งแรกและแห่งเดียวของไทยที่ออกหุ้นกู้เพื่อสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืนทางทะเล โดยมีการออกหุ้นกู้เพื่อสิ่งแวดล้อมครั้งแรก มูลค่า 60 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2561 ครั้งที่สอง มูลค่า 100 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2565 และออกหุ้นกู้เพื่อความยั่งยืนทางทะเลครั้งแรก มูลค่า 50 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2565 โดยการเคลื่อนไหวของธนาคารในการบุกเบิกหุ้นกู้เพื่อสิ่งแวดล้อมในปี 2561 ถือเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาเปิดตลาดหุ้นกู้เพื่อสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย ทั้งนี้ ธนาคารมุ่งเน้นการสนับสนุนโครงการพลังงานหมุนเวียนและรถยนต์ EV รวมไปถึงระบบนิเวศที่เกี่ยวข้อง ซึ่งถือเป็นกลุ่มสินทรัพย์ที่ค่อนข้างใหม่ในประเทศที่จะมีส่วนช่วยให้ประเทศสามารถบรรลุแผนการมีส่วนร่วมของประเทศในการลดก๊าซเรือนกระจก (Nationally Determined Contributions - NDCs) พร้อมทั้งช่วยสนับสนุนยุทธศาสตร์ในการเป็นผู้นำในอุตสาหกรรม EV ตามแผนงานของรัฐบาล สำหรับหุ้นกู้เพื่อความยั่งยืนทางทะเลจะมุ่งเน้นไปที่ประเด็นสำคัญ เช่น โครงการรีไซเคิลขยะพลาสติกจากทะเล การอนุรักษ์แหล่งน้ำ และการบำบัดน้ำเสีย ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นเศรษฐกิจสำคัญของประเทศ ด้วยนวัตกรรมเครื่องมือทางการเงินต่างๆ เหล่านี้ ทีทีบี ได้สร้างกลุ่มสินทรัพย์ใหม่ให้กับตลาดทุน พร้อมทั้งยกระดับการเงินและการลงทุนในธุรกิจเพื่อสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืนทางทะเลซึ่งช่วยส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืนและตอบสนองต่อความท้าทายหลักด้านสภาพภูมิอากาศของประเทศ

หุ้นกู้สีเขียวแรกของธนาคารช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ 32,407 ตันต่อปี

ในปี 2566 ธนาคารสนับสนุนการเงินเพื่อความยั่งยืนให้กับลูกค้าธุรกิจขนาดใหญ่ ลูกค้าธุรกิจขนาดเล็กและกลางและขนาดย่อม (SMEs) รวมถึงลูกค้าบุคคล ดังนี้

สินเชื่อที่ปล่อย
ในปี 2566
ลูกค้าธุรกิจขนาดใหญ่
(ล้านบาท)
ลูกค้า SMEs
(ล้านบาท))
ลูกค้าบุคคล
(ล้านบาท)
สินเชื่อสีเขียว (ตามกรอบหุ้นกู้เพื่อสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืนทางทะเล) 3,498 89 11,485
สินเชื่อที่เชื่อมโยงกับการดำเนินงานด้านความยั่งยืน (SLL) 3,000 0 0
สินเชื่อเพื่อความยั่งยืน 6,498 89 11,485
สินเชื่อที่ปล่อยทั้งหมด 60,026 11,143 358,792
สัดส่วนของสินเชื่อเพื่อความยั่งยืนต่อสินเชื่อที่ปล่อยทั้งหมด 10.83% 0.8% 3.2%


การให้สินเชื่อและลงทุนในเชื้อเพลิงฟอสซิล

ธนาคารทหารไทยธนชาตมีความมุ่งมั่นที่จะยุติการปล่อยสินเชื่อและการลงทุนในโครงการเหมืองถ่านหิน โครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวกับถ่านหิน และโรงไฟฟ้าถ่านหินภายในปี 2571 โดยตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา ธนาคารได้งดการสนับสนุนทางการเงิน ไม่ว่าจะเป็นการปล่อยสินเชื่อ การให้สินเชื่อโครงการ การลงทุน (ในรูปแบบ active, passive และการลงทุนโดยบุคคลที่สาม) และการจัดออกตราสารหนี้ ที่มีจุดประสงค์เพื่อสนับสนุนโครงการถ่านหินใหม่หรือขยายโครงการที่มีอยู่เดิม ทั้งนี้ สำหรับลูกค้าที่ดำเนินธุรกิจที่หลากหลาย รวมถึงลูกค้าถ่านหิน ธนาคารมีมาตรการป้องกันไม่ให้ลูกค้านำเงินไปใช้ในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการขยายเหมืองถ่านหินและโครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวกับถ่านหิน

ในปัจจุบัน ธนาคารไม่มีการปล่อยสินเชื่อหรือลงทุนในโครงการทรายน้ำมัน น้ำมันและก๊าซจากชั้นหินดินดาน น้ำมันและก๊าซในทวีปอาร์กติก น้ำมันและก๊าซในทะเลที่มีความลึกระดับ Ultra-Deep-Water (UDW) และก๊าซธรรมชาติเหลวที่ได้จากโครงการดังกล่าว โดยตั้งแต่ปี 2565 เป็นต้นมา ธนาคารได้จำกัดการให้สินเชื่อแก่กิจกรรมต้นน้ำด้านก๊าซและน้ำมันที่ร้อยละ 5 ของพอร์ตสินเชื่อทั้งหมด

ธนาคารทหารไทยธนชาตประกาศความมุ่งมั่นในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net-zero Commitment)

ธนาคารทหารไทยธนชาตประกาศพันธกิจสำคัญมุ่งสู่การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในการดำเนินกิจกรรมของธนาคาร รวมไปถึงการให้สินเชื่อในการเปลี่ยนผ่านไปสู่การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ให้ที่สอดคล้องกับเป้าหมายของประเทศไทย ธนาคารพัฒนาแนวทางและการดำเนินงานด้านสภาพภูมิอากาศโดยตั้งอยู่บนพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นไปได้ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดผลลัพธ์จริงที่จับต้องได้ ด้วยความมุ่งมั่นนี้ ธนาคารจึงนำมาตรฐานการบัญชีและรายงานก๊าซเรือนกระจกระดับโลก Greenhouse Gas Protocol และ the Partnership for Carbon Accounting Financials (PCAF) มาใช้ในประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของธนาคารเพื่อให้เป้าหมายของธนาคารสอดคล้องกับข้อตกลงปารีส ควบคุมการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกไม่ให้เกิน 1.5 องศาเซลเซียส อีกทั้งปฏิบัติตามมาตรฐาน Science Based Targets Initiative (SBTi) ด้วยการดำเนินการนี้ ธนาคารมีส่วนร่วมในการผลักดันการเปลี่ยนผ่านการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ภายในปี 2050 ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายของข้อตกลงปารีส

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นหนึ่งในความท้าทายที่เร่งด่วนที่สุดในปัจจุบัน ธนาคารตะหนักถึงบทบาทสำคัญ ความรับผิดชอบและความสามารถในการสร้างโซลูชั่นทางการเงินที่จะช่วยเร่งให้เกิดการเปลี่ยนผ่าน เพราะบทบาทของธนาคารไม่ใช่การนำพาธนาคารไปสู่การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ หากแต่เป็นการเสริมสร้างศักยภาพของธุรกิจต่างๆ ในการเปลี่ยนผ่านไปสู่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ ธนาคารจึงมุ่งมั่นที่จะเป็นผู้ขับเคลื่อนในการดำเนินงานเพื่อเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบบเศรษฐกิจที่มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (net-zero economy) ผ่านการให้สินเชื่อ ให้คำปรึกษาลูกค้า และสนับสนุนลูกค้าบนเส้นทางการเปลี่ยนผ่านนี้ โดยความมุ่งมั่นของธนาคารยังได้ขยายไปมากกว่าการดำเนินการตามกฎหมาย ด้วยเป็นส่วนสำคัญของอัตลักษณ์องค์กรและเป็นความรับผิดชอบของธนาคารในการเข้าไปมีบทบาทสำคัญเพื่อร่วมเสริมสร้างอนาคตที่ยั่งยืน

ธนาคารมีกลยุทธ์ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแบ่งเป็น 3 เสาหลัก ในการดำเนินงานตามความมุ่งมั่นในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ ดังนี้

  1. 1. การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในการดำเนินกิจกรรมของธนาคาร
    ธนาคารบริหารจัดการและลดการใช้ไฟฟ้าอย่างรับผิดชอบ โดยปรับปรุงกระบวนการการดำเนินงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้พลังงานอย่างต่อเนื่อง และพร้อมลงทุนในพลังงานหมุนเวียนและพลังานสะอาดเมื่อมีความเป็นไปได้ เช่น การเปลี่ยนเปลี่ยนยานพาหนะที่สำนักงานใหญ่เป็นยานยนต์ไฟฟ้าทดแทน มีการศึกษาดูความเป็นไปได้ในการเปลี่ยนยานพาหนะทั้งหมดของธนาคารทั่วประเทศเป็นยานยนต์ไฟฟ้าทดแทน รวมไปถึงการลงทุนการติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์ที่สำนักงานใหญ่และสำนักงานเขตเพื่อเปลี่ยนมาใช้พลังงานสะอาด
  2. 2. การบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
    ธนาคารพัฒนากรอบการบริหารจัดการความเสี่ยง นโยบาย และกระบวนการ โดยมีเป้าหมายในการระบุ ประเมิน และลดผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทั้งภายในองค์กรและในพอร์ตของธนาคาร ลดการข้องเกี่ยวกับธุรกิจที่มีความเสี่ยงสูงและลดผลกระทบทางการเงินของธุรกิจดังกล่าวให้เหลือน้อยที่สุด ธนาคารมีแผนการยอดระดับการบริหารจัดการความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยจัดทำ Climate Stress Test เพื่อพัฒนากระบวนการบริหารความเสี่ยงให้ครอบคลุมผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ธนาคารตระหนักและเข้าใจถึงผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อพอร์ตและผลการดำเนินงานของธนาคาร รวมถึงเพื่อให้มีการเตรียมความพร้อมในการพัฒนาทั้งด้านข้อมูล ด้านแบบจำลอง และด้านบุคลากร
  3. 3. การให้สินเชื่อและการให้คำปรึกษาลูกค้าในการเปลี่ยนผ่านไปสู่การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์
    ธนาคารมุ่งมั่นที่จะเป็นผู้ขับเคลื่อนในการดำเนินงานเพื่อเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบบเศรษฐกิจที่มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (net-zero economy) ผ่านการให้สินเชื่อ ให้คำปรึกษา และให้การสนับสนุนลูกค้าในการเปลี่ยนผ่านไปสู่ความยั่งยืน ผ่านโซลูชั่นทางการเงินที่ยั่งยืน อีกทั้งยังมุ่งเน้นพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการที่ตรงความต้องการและเพียงพอสำหรับกลุ่มธุรกิจที่ต้องการปรับตัว (transition finance product) และธนาคารยังคงสานต่อโครงการเสริมสร้างความรู้ความสามารถให้กับลูกค้าธุรกิจ ผ่านการจัดสัมมนาที่มุ่งเน้นเกี่ยวกับความท้าทายของภาคธุรกิจที่มีความเสี่ยงสูงในการเผชิญหน้ากับกฎระเบียบใหม่ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พร้อมช่วยให้คำปรึกษาและวางแผนให้กับธุรกิจที่มีความประสงค์ที่จะมุ่งสู่ Net Zero

สินเชื่อสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ธนาคารตระหนักถึงความเสี่ยงและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และเชื่อว่าการเปลี่ยนแปลงสังคมสู่เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง ในฐานะองค์กรการเงิน ธนาคารมีอิทธิพลในการช่วยปรับเปลี่ยนธุรกิจให้มีความยั่งยืนมากยิ่งขึ้น โดยธนาคารต้องการให้ธุรกิจสินเชื่อช่วยขับเคลื่อนสังคมไปสู่การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและการพัฒนาการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (climate-resilient development)

ธนาคารดำเนินงานอย่างใกล้ชิดกับธนาคารแห่งประเทศไทยและสมาคมธนาคารไทยเพื่อยกระดับมาตรฐานการให้สินเชื่ออย่างยังยืน ซึ่งรวมถึงแนวคิดริเริ่มต่างๆ เช่น แผนงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสำหรับธนาคารในประเทศไทย และ Taxonomy เป็นต้น ยิ่งไปกว่าการเป็นผู้สนับสนุนและผู้ให้บริการทางการเงิน ธนาคารยังมีบทบาทเชิงรุกสำคัญเชิงรุกในการสนับสนุนลูกค้าที่ต้องการพัฒนาโมเดลธุรกิจที่ยั่งยืน ซึ่งโมเดลธุรกิจเหล่านี้ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อทั้งลูกค้าและสังคมโดยไม่กระทบต่อผลกำไรของธนาคาร โดยธนาคารได้เสนอสินเชื่อ ESG ให้กับลูกค้าในรูปแบบของหุ้นกู้สีเขียวเพื่อสนับสนุนโครงการพลังงานแสงอาทิตย์ โครงการพลังงานชีวภาพ และโครงการการจัดการของเสีย อีกทั้งยังให้สินเชื่อที่ส่งเสริมความยั่งยืนโดยคิดอัตราดอกเบี้ยตามผลการดำเนินงานด้านความยั่งยืนของลูกค้าซึ่งประเมินจากเกณฑ์ด้านสังคมหรือสิ่งแวดล้อม โดยจะมีการตั้งเป้าหมายด้านความยั่งยืนล่วงหน้า ทั้งนี้ บริษัทที่บรรลุเป้าหมายจะได้รับผลตอบแทน เช่น การลดอัตราดอกเบี้ย

ในฐานะสถาบันการเงินภาคเอกชนของไทย ทีทีบี เป็นธนาคารพาณิชย์แห่งแรกและแห่งเดียวของไทยที่ออกหุ้นกู้เพื่อสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืนทางทะเล โดยมีการออกหุ้นกู้เพื่อสิ่งแวดล้อมครั้งแรก มูลค่า 60 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2561 ครั้งที่สอง มูลค่า 100 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2565 และออกหุ้นกู้เพื่อความยั่งยืนทางทะเลครั้งแรก มูลค่า 50 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2565 โดยการเคลื่อนไหวของธนาคารในการบุกเบิกหุ้นกู้เพื่อสิ่งแวดล้อมในปี 2561 ถือเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาเปิดตลาดหุ้นกู้เพื่อสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย ทั้งนี้ ธนาคารมุ่งเน้นการสนับสนุนโครงการพลังงานหมุนเวียนและรถยนต์ EV รวมไปถึงระบบนิเวศที่เกี่ยวข้อง ซึ่งถือเป็นกลุ่มสินทรัพย์ที่ค่อนข้างใหม่ในประเทศที่จะมีส่วนช่วยให้ประเทศสามารถบรรลุแผนการมีส่วนร่วมของประเทศในการลดก๊าซเรือนกระจก (Nationally Determined Contributions - NDCs) พร้อมทั้งช่วยสนับสนุนยุทธศาสตร์ในการเป็นผู้นำในอุตสาหกรรม EV ตามแผนงานของรัฐบาล สำหรับหุ้นกู้เพื่อความยั่งยืนทางทะเลจะมุ่งเน้นไปที่ประเด็นสำคัญ เช่น โครงการรีไซเคิลขยะพลาสติกจากทะเล การอนุรักษ์แหล่งน้ำ และการบำบัดน้ำเสีย ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นเศรษฐกิจสำคัญของประเทศ ด้วยนวัตกรรมเครื่องมือทางการเงินต่างๆ เหล่านี้ ทีทีบี ได้สร้างกลุ่มสินทรัพย์ใหม่ให้กับตลาดทุน พร้อมทั้งยกระดับการเงินและการลงทุนในธุรกิจเพื่อสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืนทางทะเลซึ่งช่วยส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืนและตอบสนองต่อความท้าทายหลักด้านสภาพภูมิอากาศของประเทศ

หุ้นกู้สีเขียวแรกของธนาคารช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ 32,407 ตันต่อปี

ในปี 2566 ธนาคารสนับสนุนการเงินเพื่อความยั่งยืนให้กับลูกค้าธุรกิจขนาดใหญ่ ลูกค้าธุรกิจขนาดเล็กและกลางและขนาดย่อม (SMEs) รวมถึงลูกค้าบุคคล ดังนี้

สินเชื่อที่ปล่อย
ในปี 2566
ลูกค้าธุรกิจขนาดใหญ่
(ล้านบาท)
ลูกค้า SMEs
(ล้านบาท))
ลูกค้าบุคคล
(ล้านบาท)
สินเชื่อสีเขียว (ตามกรอบหุ้นกู้เพื่อสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืนทางทะเล) 3,498 89 11,485
สินเชื่อที่เชื่อมโยงกับการดำเนินงานด้านความยั่งยืน (SLL) 3,000 0 0
สินเชื่อเพื่อความยั่งยืน 6,498 89 11,485
สินเชื่อที่ปล่อยทั้งหมด 60,026 11,143 358,792
สัดส่วนของสินเชื่อเพื่อความยั่งยืนต่อสินเชื่อที่ปล่อยทั้งหมด 10.83% 0.8% 3.2%


การให้สินเชื่อและลงทุนในเชื้อเพลิงฟอสซิล

ธนาคารทหารไทยธนชาตมีความมุ่งมั่นที่จะยุติการปล่อยสินเชื่อและการลงทุนในโครงการเหมืองถ่านหิน โครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวกับถ่านหิน และโรงไฟฟ้าถ่านหินภายในปี 2571 โดยตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา ธนาคารได้งดการสนับสนุนทางการเงิน ไม่ว่าจะเป็นการปล่อยสินเชื่อ การให้สินเชื่อโครงการ การลงทุน (ในรูปแบบ active, passive และการลงทุนโดยบุคคลที่สาม) และการจัดออกตราสารหนี้ ที่มีจุดประสงค์เพื่อสนับสนุนโครงการถ่านหินใหม่หรือขยายโครงการที่มีอยู่เดิม ทั้งนี้ สำหรับลูกค้าที่ดำเนินธุรกิจที่หลากหลาย รวมถึงลูกค้าถ่านหิน ธนาคารมีมาตรการป้องกันไม่ให้ลูกค้านำเงินไปใช้ในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการขยายเหมืองถ่านหินและโครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวกับถ่านหิน

ในปัจจุบัน ธนาคารไม่มีการปล่อยสินเชื่อหรือลงทุนในโครงการทรายน้ำมัน น้ำมันและก๊าซจากชั้นหินดินดาน น้ำมันและก๊าซในทวีปอาร์กติก น้ำมันและก๊าซในทะเลที่มีความลึกระดับ Ultra-Deep-Water (UDW) และก๊าซธรรมชาติเหลวที่ได้จากโครงการดังกล่าว โดยตั้งแต่ปี 2565 เป็นต้นมา ธนาคารได้จำกัดการให้สินเชื่อแก่กิจกรรมต้นน้ำด้านก๊าซและน้ำมันที่ร้อยละ 5 ของพอร์ตสินเชื่อทั้งหมด

ธนาคารทหารไทยธนชาตประกาศความมุ่งมั่นในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net-zero Commitment)

ธนาคารทหารไทยธนชาตประกาศพันธกิจสำคัญมุ่งสู่การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในการดำเนินกิจกรรมของธนาคาร รวมไปถึงการให้สินเชื่อในการเปลี่ยนผ่านไปสู่การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ให้ที่สอดคล้องกับเป้าหมายของประเทศไทย ธนาคารพัฒนาแนวทางและการดำเนินงานด้านสภาพภูมิอากาศโดยตั้งอยู่บนพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นไปได้ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดผลลัพธ์จริงที่จับต้องได้ ด้วยความมุ่งมั่นนี้ ธนาคารจึงนำมาตรฐานการบัญชีและรายงานก๊าซเรือนกระจกระดับโลก Greenhouse Gas Protocol และ the Partnership for Carbon Accounting Financials (PCAF) มาใช้ในประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของธนาคารเพื่อให้เป้าหมายของธนาคารสอดคล้องกับข้อตกลงปารีส ควบคุมการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกไม่ให้เกิน 1.5 องศาเซลเซียส อีกทั้งปฏิบัติตามมาตรฐาน Science Based Targets Initiative (SBTi) ด้วยการดำเนินการนี้ ธนาคารมีส่วนร่วมในการผลักดันการเปลี่ยนผ่านการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ภายในปี 2050 ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายของข้อตกลงปารีส

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นหนึ่งในความท้าทายที่เร่งด่วนที่สุดในปัจจุบัน ธนาคารตะหนักถึงบทบาทสำคัญ ความรับผิดชอบและความสามารถในการสร้างโซลูชั่นทางการเงินที่จะช่วยเร่งให้เกิดการเปลี่ยนผ่าน เพราะบทบาทของธนาคารไม่ใช่การนำพาธนาคารไปสู่การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ หากแต่เป็นการเสริมสร้างศักยภาพของธุรกิจต่างๆ ในการเปลี่ยนผ่านไปสู่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ ธนาคารจึงมุ่งมั่นที่จะเป็นผู้ขับเคลื่อนในการดำเนินงานเพื่อเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบบเศรษฐกิจที่มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (net-zero economy) ผ่านการให้สินเชื่อ ให้คำปรึกษาลูกค้า และสนับสนุนลูกค้าบนเส้นทางการเปลี่ยนผ่านนี้ โดยความมุ่งมั่นของธนาคารยังได้ขยายไปมากกว่าการดำเนินการตามกฎหมาย ด้วยเป็นส่วนสำคัญของอัตลักษณ์องค์กรและเป็นความรับผิดชอบของธนาคารในการเข้าไปมีบทบาทสำคัญเพื่อร่วมเสริมสร้างอนาคตที่ยั่งยืน

ธนาคารมีกลยุทธ์ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแบ่งเป็น 3 เสาหลัก ในการดำเนินงานตามความมุ่งมั่นในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ ดังนี้

  1. 1. การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในการดำเนินกิจกรรมของธนาคาร
    ธนาคารบริหารจัดการและลดการใช้ไฟฟ้าอย่างรับผิดชอบ โดยปรับปรุงกระบวนการการดำเนินงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้พลังงานอย่างต่อเนื่อง และพร้อมลงทุนในพลังงานหมุนเวียนและพลังานสะอาดเมื่อมีความเป็นไปได้ เช่น การเปลี่ยนเปลี่ยนยานพาหนะที่สำนักงานใหญ่เป็นยานยนต์ไฟฟ้าทดแทน มีการศึกษาดูความเป็นไปได้ในการเปลี่ยนยานพาหนะทั้งหมดของธนาคารทั่วประเทศเป็นยานยนต์ไฟฟ้าทดแทน รวมไปถึงการลงทุนการติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์ที่สำนักงานใหญ่และสำนักงานเขตเพื่อเปลี่ยนมาใช้พลังงานสะอาด
  2. 2. การบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
    ธนาคารพัฒนากรอบการบริหารจัดการความเสี่ยง นโยบาย และกระบวนการ โดยมีเป้าหมายในการระบุ ประเมิน และลดผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทั้งภายในองค์กรและในพอร์ตของธนาคาร ลดการข้องเกี่ยวกับธุรกิจที่มีความเสี่ยงสูงและลดผลกระทบทางการเงินของธุรกิจดังกล่าวให้เหลือน้อยที่สุด ธนาคารมีแผนการยอดระดับการบริหารจัดการความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยจัดทำ Climate Stress Test เพื่อพัฒนากระบวนการบริหารความเสี่ยงให้ครอบคลุมผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ธนาคารตระหนักและเข้าใจถึงผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อพอร์ตและผลการดำเนินงานของธนาคาร รวมถึงเพื่อให้มีการเตรียมความพร้อมในการพัฒนาทั้งด้านข้อมูล ด้านแบบจำลอง และด้านบุคลากร
  3. 3. การให้สินเชื่อและการให้คำปรึกษาลูกค้าในการเปลี่ยนผ่านไปสู่การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์
    ธนาคารมุ่งมั่นที่จะเป็นผู้ขับเคลื่อนในการดำเนินงานเพื่อเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบบเศรษฐกิจที่มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (net-zero economy) ผ่านการให้สินเชื่อ ให้คำปรึกษา และให้การสนับสนุนลูกค้าในการเปลี่ยนผ่านไปสู่ความยั่งยืน ผ่านโซลูชั่นทางการเงินที่ยั่งยืน อีกทั้งยังมุ่งเน้นพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการที่ตรงความต้องการและเพียงพอสำหรับกลุ่มธุรกิจที่ต้องการปรับตัว (transition finance product) และธนาคารยังคงสานต่อโครงการเสริมสร้างความรู้ความสามารถให้กับลูกค้าธุรกิจ ผ่านการจัดสัมมนาที่มุ่งเน้นเกี่ยวกับความท้าทายของภาคธุรกิจที่มีความเสี่ยงสูงในการเผชิญหน้ากับกฎระเบียบใหม่ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พร้อมช่วยให้คำปรึกษาและวางแผนให้กับธุรกิจที่มีความประสงค์ที่จะมุ่งสู่ Net Zero

สินเชื่อสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ธนาคารตระหนักถึงความเสี่ยงและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และเชื่อว่าการเปลี่ยนแปลงสังคมสู่เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง ในฐานะองค์กรการเงิน ธนาคารมีอิทธิพลในการช่วยปรับเปลี่ยนธุรกิจให้มีความยั่งยืนมากยิ่งขึ้น โดยธนาคารต้องการให้ธุรกิจสินเชื่อช่วยขับเคลื่อนสังคมไปสู่การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและการพัฒนาการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (climate-resilient development)

ธนาคารดำเนินงานอย่างใกล้ชิดกับธนาคารแห่งประเทศไทยและสมาคมธนาคารไทยเพื่อยกระดับมาตรฐานการให้สินเชื่ออย่างยังยืน ซึ่งรวมถึงแนวคิดริเริ่มต่างๆ เช่น แผนงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสำหรับธนาคารในประเทศไทย และ Taxonomy เป็นต้น ยิ่งไปกว่าการเป็นผู้สนับสนุนและผู้ให้บริการทางการเงิน ธนาคารยังมีบทบาทเชิงรุกสำคัญเชิงรุกในการสนับสนุนลูกค้าที่ต้องการพัฒนาโมเดลธุรกิจที่ยั่งยืน ซึ่งโมเดลธุรกิจเหล่านี้ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อทั้งลูกค้าและสังคมโดยไม่กระทบต่อผลกำไรของธนาคาร โดยธนาคารได้เสนอสินเชื่อ ESG ให้กับลูกค้าในรูปแบบของหุ้นกู้สีเขียวเพื่อสนับสนุนโครงการพลังงานแสงอาทิตย์ โครงการพลังงานชีวภาพ และโครงการการจัดการของเสีย อีกทั้งยังให้สินเชื่อที่ส่งเสริมความยั่งยืนโดยคิดอัตราดอกเบี้ยตามผลการดำเนินงานด้านความยั่งยืนของลูกค้าซึ่งประเมินจากเกณฑ์ด้านสังคมหรือสิ่งแวดล้อม โดยจะมีการตั้งเป้าหมายด้านความยั่งยืนล่วงหน้า ทั้งนี้ บริษัทที่บรรลุเป้าหมายจะได้รับผลตอบแทน เช่น การลดอัตราดอกเบี้ย

ในฐานะสถาบันการเงินภาคเอกชนของไทย ทีทีบี เป็นธนาคารพาณิชย์แห่งแรกและแห่งเดียวของไทยที่ออกหุ้นกู้เพื่อสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืนทางทะเล โดยมีการออกหุ้นกู้เพื่อสิ่งแวดล้อมครั้งแรก มูลค่า 60 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2561 ครั้งที่สอง มูลค่า 100 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2565 และออกหุ้นกู้เพื่อความยั่งยืนทางทะเลครั้งแรก มูลค่า 50 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2565 โดยการเคลื่อนไหวของธนาคารในการบุกเบิกหุ้นกู้เพื่อสิ่งแวดล้อมในปี 2561 ถือเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาเปิดตลาดหุ้นกู้เพื่อสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย ทั้งนี้ ธนาคารมุ่งเน้นการสนับสนุนโครงการพลังงานหมุนเวียนและรถยนต์ EV รวมไปถึงระบบนิเวศที่เกี่ยวข้อง ซึ่งถือเป็นกลุ่มสินทรัพย์ที่ค่อนข้างใหม่ในประเทศที่จะมีส่วนช่วยให้ประเทศสามารถบรรลุแผนการมีส่วนร่วมของประเทศในการลดก๊าซเรือนกระจก (Nationally Determined Contributions - NDCs) พร้อมทั้งช่วยสนับสนุนยุทธศาสตร์ในการเป็นผู้นำในอุตสาหกรรม EV ตามแผนงานของรัฐบาล สำหรับหุ้นกู้เพื่อความยั่งยืนทางทะเลจะมุ่งเน้นไปที่ประเด็นสำคัญ เช่น โครงการรีไซเคิลขยะพลาสติกจากทะเล การอนุรักษ์แหล่งน้ำ และการบำบัดน้ำเสีย ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นเศรษฐกิจสำคัญของประเทศ ด้วยนวัตกรรมเครื่องมือทางการเงินต่างๆ เหล่านี้ ทีทีบี ได้สร้างกลุ่มสินทรัพย์ใหม่ให้กับตลาดทุน พร้อมทั้งยกระดับการเงินและการลงทุนในธุรกิจเพื่อสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืนทางทะเลซึ่งช่วยส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืนและตอบสนองต่อความท้าทายหลักด้านสภาพภูมิอากาศของประเทศ

หุ้นกู้สีเขียวแรกของธนาคารช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ 32,407 ตันต่อปี

ในปี 2566 ธนาคารสนับสนุนการเงินเพื่อความยั่งยืนให้กับลูกค้าธุรกิจขนาดใหญ่ ลูกค้าธุรกิจขนาดเล็กและกลางและขนาดย่อม (SMEs) รวมถึงลูกค้าบุคคล ดังนี้

สินเชื่อที่ปล่อย
ในปี 2566
ลูกค้าธุรกิจขนาดใหญ่
(ล้านบาท)
ลูกค้า SMEs
(ล้านบาท))
ลูกค้าบุคคล
(ล้านบาท)
สินเชื่อสีเขียว (ตามกรอบหุ้นกู้เพื่อสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืนทางทะเล) 3,498 89 11,485
สินเชื่อที่เชื่อมโยงกับการดำเนินงานด้านความยั่งยืน (SLL) 3,000 0 0
สินเชื่อเพื่อความยั่งยืน 6,498 89 11,485
สินเชื่อที่ปล่อยทั้งหมด 60,026 11,143 358,792
สัดส่วนของสินเชื่อเพื่อความยั่งยืนต่อสินเชื่อที่ปล่อยทั้งหมด 10.83% 0.8% 3.2%


การให้สินเชื่อและลงทุนในเชื้อเพลิงฟอสซิล

ธนาคารทหารไทยธนชาตมีความมุ่งมั่นที่จะยุติการปล่อยสินเชื่อและการลงทุนในโครงการเหมืองถ่านหิน โครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวกับถ่านหิน และโรงไฟฟ้าถ่านหินภายในปี 2571 โดยตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา ธนาคารได้งดการสนับสนุนทางการเงิน ไม่ว่าจะเป็นการปล่อยสินเชื่อ การให้สินเชื่อโครงการ การลงทุน (ในรูปแบบ active, passive และการลงทุนโดยบุคคลที่สาม) และการจัดออกตราสารหนี้ ที่มีจุดประสงค์เพื่อสนับสนุนโครงการถ่านหินใหม่หรือขยายโครงการที่มีอยู่เดิม ทั้งนี้ สำหรับลูกค้าที่ดำเนินธุรกิจที่หลากหลาย รวมถึงลูกค้าถ่านหิน ธนาคารมีมาตรการป้องกันไม่ให้ลูกค้านำเงินไปใช้ในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการขยายเหมืองถ่านหินและโครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวกับถ่านหิน

ในปัจจุบัน ธนาคารไม่มีการปล่อยสินเชื่อหรือลงทุนในโครงการทรายน้ำมัน น้ำมันและก๊าซจากชั้นหินดินดาน น้ำมันและก๊าซในทวีปอาร์กติก น้ำมันและก๊าซในทะเลที่มีความลึกระดับ Ultra-Deep-Water (UDW) และก๊าซธรรมชาติเหลวที่ได้จากโครงการดังกล่าว โดยตั้งแต่ปี 2565 เป็นต้นมา ธนาคารได้จำกัดการให้สินเชื่อแก่กิจกรรมต้นน้ำด้านก๊าซและน้ำมันที่ร้อยละ 5 ของพอร์ตสินเชื่อทั้งหมด