external-popup-close

คุณกำลังออกจากเว็บไซต์ ทีทีบี
เพื่อเข้าสู่

https://www.ttbbank.com/

ตกลง

การสร้างชีวิตทางการเงินที่ดี

ด้วยตระหนักถึงปัญหา หนี้ครัวเรือนซึ่งเพิ่มขึ้นสูง และมีแนวโน้มจะเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งได้กลายมาเป็นวิกฤตครั้งใหญ่ของชาติ ธนาคารได้กำหนดพันธกิจใหม่ในปี 2563 ในการให้คำนิยามใหม่แก่ภูมิทัศน์ทางการเงินของประเทศและสร้างเสริมคุณภาพชีวิตทางการเงินที่ดีให้กับคนไทย โดยธนาคารเชื่อว่าสุขภาพทางการเงินที่ดีในทุกวันคือพื้นฐานสำคัญในการบรรลุเป้าหมายของชีวิต ทั้งนี้ วิกฤตโควิด-19 ยังได้ตอกย้ำความเชื่อที่ว่าเส้นทางทางการเงินของลูกค้าจะต้องได้รับการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้สามารถตอบโจทย์ชีวิตในปัจจุบันและคงไว้ซึ่งความมั่นคงทางการเงินในอนาคต และด้วยตระหนักถึงความสำคัญของบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของธนาคารต่อลูกค้า ธนาคารจึงเล็งเห็นความจำเป็นในการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการให้บริการ โดยเปลี่ยนจากการทำหน้าที่เป็นผู้ให้บริการทางการเงินในรูปแบบเดิม มาเป็นที่ปรึกษาที่ได้รับความไว้วางใจ ด้วยการสร้างความสัมพันธ์ในระยะยาวและมุ่งเน้นการสร้างคุณค่าให้กับลูกค้าผ่านโซลูชั่นทางการเงินต่างๆ ที่จะช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตทางการเงินที่ดี การเปลี่ยนแนวคิดการดำเนินธุรกิจโดยมุ่งเน้นไปที่ผลิตภัณฑ์ไปสู่การมุ่งเน้นไปที่การส่งมอบโซลูชั่นให้กับลูกค้านี้ช่วยให้ธนาคารสามารถส่งมอบโซลูชั่นทางการเงินเฉพาะบุคคลที่ตอบโจทย์ความต้องการที่แตกต่างกันในแต่ละช่วงชีวิต และเพื่อเป็นการยืนยันความมุ่งมั่นดังกล่าว ธนาคารได้กำหนดกรอบคุณภาพชีวิตทางการเงินที่ดีเป็น 4 เสาหลัก ดังนี้


เสาหลักของคุณภาพชีวิตทางการเงินที่ดี

 

 

เพื่อช่วยลูกค้าให้มีคุณภาพชีวิตทางการเงินที่ดี ธนาคารได้ยึดมั่นในเสาหลักทั้ง 4 นี้ในการพัฒนาและบริหารผลิตภัณฑ์และบริการ โดยทีทีบีมีความแตกต่างจากธนาคารอื่นตรงที่การมุ่งเน้นไปที่การนำเสนอผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและโซลูชั่นแบบองค์รวมให้กับลูกค้า แทนที่การมุ่งเน้นไปที่ปริมาณ ซึ่งทำให้ลูกค้าได้รับประโยชน์อย่างแท้จริง ส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตทางการเงินที่ดี ธนาคารจึงมุ่งพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง และปรับปรุงผลิตภัณฑ์และบริการที่มีอยู่เดิมอย่างไม่หยุดยั้ง เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมทางการเงินที่ดี เช่น การบริหารค่าใช้จ่าย การส่งเสริมอุปนิสัยการออมระยะยาว การสร้างวินัยในการชำระหนี้ การลงทุนระยะยาวบนพื้นฐานของความเสี่ยง และการให้ความคุ้มครองต่างๆ นอกจากนี้ ผลิตภัณฑ์ของธนาคารยังได้ถูกออกแบบมาเพื่อให้ส่งเสริมซึ่งกันและกัน เหมาะกับการออกแบบโซลูชั่นทางการเงินเฉพาะบุคคลที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้าในแต่ละกลุ่มตลอดทุกช่วงชีวิต

การสร้างชีวิตทางการเงินที่ดี

ด้วยตระหนักถึงปัญหา หนี้ครัวเรือนซึ่งเพิ่มขึ้นสูง และมีแนวโน้มจะเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งได้กลายมาเป็นวิกฤตครั้งใหญ่ของชาติ ธนาคารได้กำหนดพันธกิจใหม่ในปี 2563 ในการให้คำนิยามใหม่แก่ภูมิทัศน์ทางการเงินของประเทศและสร้างเสริมคุณภาพชีวิตทางการเงินที่ดีให้กับคนไทย โดยธนาคารเชื่อว่าสุขภาพทางการเงินที่ดีในทุกวันคือพื้นฐานสำคัญในการบรรลุเป้าหมายของชีวิต ทั้งนี้ วิกฤตโควิด-19 ยังได้ตอกย้ำความเชื่อที่ว่าเส้นทางทางการเงินของลูกค้าจะต้องได้รับการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้สามารถตอบโจทย์ชีวิตในปัจจุบันและคงไว้ซึ่งความมั่นคงทางการเงินในอนาคต และด้วยตระหนักถึงความสำคัญของบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของธนาคารต่อลูกค้า ธนาคารจึงเล็งเห็นความจำเป็นในการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการให้บริการ โดยเปลี่ยนจากการทำหน้าที่เป็นผู้ให้บริการทางการเงินในรูปแบบเดิม มาเป็นที่ปรึกษาที่ได้รับความไว้วางใจ ด้วยการสร้างความสัมพันธ์ในระยะยาวและมุ่งเน้นการสร้างคุณค่าให้กับลูกค้าผ่านโซลูชั่นทางการเงินต่างๆ ที่จะช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตทางการเงินที่ดี การเปลี่ยนแนวคิดการดำเนินธุรกิจโดยมุ่งเน้นไปที่ผลิตภัณฑ์ไปสู่การมุ่งเน้นไปที่การส่งมอบโซลูชั่นให้กับลูกค้านี้ช่วยให้ธนาคารสามารถส่งมอบโซลูชั่นทางการเงินเฉพาะบุคคลที่ตอบโจทย์ความต้องการที่แตกต่างกันในแต่ละช่วงชีวิต และเพื่อเป็นการยืนยันความมุ่งมั่นดังกล่าว ธนาคารได้กำหนดกรอบคุณภาพชีวิตทางการเงินที่ดีเป็น 4 เสาหลัก ดังนี้


เสาหลักของคุณภาพชีวิตทางการเงินที่ดี

 

 

เพื่อช่วยลูกค้าให้มีคุณภาพชีวิตทางการเงินที่ดี ธนาคารได้ยึดมั่นในเสาหลักทั้ง 4 นี้ในการพัฒนาและบริหารผลิตภัณฑ์และบริการ โดยทีทีบีมีความแตกต่างจากธนาคารอื่นตรงที่การมุ่งเน้นไปที่การนำเสนอผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและโซลูชั่นแบบองค์รวมให้กับลูกค้า แทนที่การมุ่งเน้นไปที่ปริมาณ ซึ่งทำให้ลูกค้าได้รับประโยชน์อย่างแท้จริง ส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตทางการเงินที่ดี ธนาคารจึงมุ่งพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง และปรับปรุงผลิตภัณฑ์และบริการที่มีอยู่เดิมอย่างไม่หยุดยั้ง เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมทางการเงินที่ดี เช่น การบริหารค่าใช้จ่าย การส่งเสริมอุปนิสัยการออมระยะยาว การสร้างวินัยในการชำระหนี้ การลงทุนระยะยาวบนพื้นฐานของความเสี่ยง และการให้ความคุ้มครองต่างๆ นอกจากนี้ ผลิตภัณฑ์ของธนาคารยังได้ถูกออกแบบมาเพื่อให้ส่งเสริมซึ่งกันและกัน เหมาะกับการออกแบบโซลูชั่นทางการเงินเฉพาะบุคคลที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้าในแต่ละกลุ่มตลอดทุกช่วงชีวิต

การสร้างชีวิตทางการเงินที่ดี

ด้วยตระหนักถึงปัญหา หนี้ครัวเรือนซึ่งเพิ่มขึ้นสูง และมีแนวโน้มจะเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งได้กลายมาเป็นวิกฤตครั้งใหญ่ของชาติ ธนาคารได้กำหนดพันธกิจใหม่ในปี 2563 ในการให้คำนิยามใหม่แก่ภูมิทัศน์ทางการเงินของประเทศและสร้างเสริมคุณภาพชีวิตทางการเงินที่ดีให้กับคนไทย โดยธนาคารเชื่อว่าสุขภาพทางการเงินที่ดีในทุกวันคือพื้นฐานสำคัญในการบรรลุเป้าหมายของชีวิต ทั้งนี้ วิกฤตโควิด-19 ยังได้ตอกย้ำความเชื่อที่ว่าเส้นทางทางการเงินของลูกค้าจะต้องได้รับการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้สามารถตอบโจทย์ชีวิตในปัจจุบันและคงไว้ซึ่งความมั่นคงทางการเงินในอนาคต และด้วยตระหนักถึงความสำคัญของบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของธนาคารต่อลูกค้า ธนาคารจึงเล็งเห็นความจำเป็นในการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการให้บริการ โดยเปลี่ยนจากการทำหน้าที่เป็นผู้ให้บริการทางการเงินในรูปแบบเดิม มาเป็นที่ปรึกษาที่ได้รับความไว้วางใจ ด้วยการสร้างความสัมพันธ์ในระยะยาวและมุ่งเน้นการสร้างคุณค่าให้กับลูกค้าผ่านโซลูชั่นทางการเงินต่างๆ ที่จะช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตทางการเงินที่ดี การเปลี่ยนแนวคิดการดำเนินธุรกิจโดยมุ่งเน้นไปที่ผลิตภัณฑ์ไปสู่การมุ่งเน้นไปที่การส่งมอบโซลูชั่นให้กับลูกค้านี้ช่วยให้ธนาคารสามารถส่งมอบโซลูชั่นทางการเงินเฉพาะบุคคลที่ตอบโจทย์ความต้องการที่แตกต่างกันในแต่ละช่วงชีวิต และเพื่อเป็นการยืนยันความมุ่งมั่นดังกล่าว ธนาคารได้กำหนดกรอบคุณภาพชีวิตทางการเงินที่ดีเป็น 4 เสาหลัก ดังนี้


เสาหลักของคุณภาพชีวิตทางการเงินที่ดี

 

 

เพื่อช่วยลูกค้าให้มีคุณภาพชีวิตทางการเงินที่ดี ธนาคารได้ยึดมั่นในเสาหลักทั้ง 4 นี้ในการพัฒนาและบริหารผลิตภัณฑ์และบริการ โดยทีทีบีมีความแตกต่างจากธนาคารอื่นตรงที่การมุ่งเน้นไปที่การนำเสนอผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและโซลูชั่นแบบองค์รวมให้กับลูกค้า แทนที่การมุ่งเน้นไปที่ปริมาณ ซึ่งทำให้ลูกค้าได้รับประโยชน์อย่างแท้จริง ส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตทางการเงินที่ดี ธนาคารจึงมุ่งพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง และปรับปรุงผลิตภัณฑ์และบริการที่มีอยู่เดิมอย่างไม่หยุดยั้ง เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมทางการเงินที่ดี เช่น การบริหารค่าใช้จ่าย การส่งเสริมอุปนิสัยการออมระยะยาว การสร้างวินัยในการชำระหนี้ การลงทุนระยะยาวบนพื้นฐานของความเสี่ยง และการให้ความคุ้มครองต่างๆ นอกจากนี้ ผลิตภัณฑ์ของธนาคารยังได้ถูกออกแบบมาเพื่อให้ส่งเสริมซึ่งกันและกัน เหมาะกับการออกแบบโซลูชั่นทางการเงินเฉพาะบุคคลที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้าในแต่ละกลุ่มตลอดทุกช่วงชีวิต